รายการที่ 11 ถึง 20 จากทั้งหมด 37 รายการ


 
ชื่อวิทยานิพนธ์
ชื่อผู้แต่ง
สาขาวิชา
ปีการศึกษา
11. การศึกษาอัตลักษณ์ของสถาปัตยกรรมเรือนแถวย่านประวัติศาสตร์ชุมชนนครชุม ต.นครชุม อ.เมือง จ.กำแพงเพชร
(A study of the identify of architecture in Nakhonchum Historical Communi)
เลขหมู่ สถ 2/07 2557 005
ระดับ ปริญญาโท
ฐิติมา คำยา
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2557
12. คติความเชื่อและภูมิปัญญาซึ่งสัมพันธ์กับการตั้งถิ่นฐาน ผังหมู่บ้านและบ้านเรือนของชุมชนชาติพันธุ์ลัวะในประเทศไทย
(Ritual believe and local wisdom in relation with village settlement and houses of the Wa athnic in Thailand)
เลขหมู่ สถ.2/07 2553-003
ระดับ ปริญญาโท
อรรถรัตน์ ฆะสันต์
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2553
13. ความมีตัวตนของผีในวัฒนธรรมลาวครั่งที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมธรรมชาติและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
(Relation between the natural and built environment and the supernatural existence in laokhrang culture)
เลขหมู่ สถ.2/07 2548-003
ระดับ ปริญญาโท
วีรวัฒน์ วรายน
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2548
14. ความสัมพันธ์เปรียบเทียบการศึกษาเชิงความสัมพันธ์ระหว่างโรงโนรา มงคลสูตรและเรือนพื้นถิ่นบริเวณลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
(Education comparing between Nora theatre Mongkolasutrara and vernacular architecture Songkha lake)
เลขหมู่ NA7435.ต9 ส63
ระดับ ปริญญาโท
สิทธิเดช เรืองจันทร์
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2550
15. คุณค่าและความหมายที่เปลี่ยนแปลงไปของเรือนพื้นถิ่นไทดำ อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี
(The changing of value and meaning ing Tai Dam vernacular houses, Khao Yoi district, Phetchaburi provimce)
เลขหมู่ สถ 2/07 2554 002
ระดับ ปริญญาโท
ปิยะ ไล้หลีกพาล
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2554
16. ตลาดสดพื้นถิ่น จังหวัดสุพรรณบุรี : รูปแบบ พัฒนาการ และการใช้งานปัจจุบัน
(Fresh markets in Suphanburi province : patterns, developments and their present uses)
เลขหมู่ สถ 2/07 2556 002
ระดับ ปริญญาโท
รัฐวิชญ์ ศุภจัตุรัส
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2556
17. ที่ว่างที่สร้างให้เกิดความยั่งยืนทางสังคม : กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่าง และการปฏิบัติการทางสังคม ของพื้นที่เมืองเก่าลำพูน ตำบลในเมือง จังหวัดลำพูน
(Effective spaces for sustainable society : case study of relative between space and social practice of old Lamphun city, Tumbon Naimuang, Lamphun province)
เลขหมู่ สถ 2/07 2554 001
ระดับ ปริญญาโท
ลลิลทิพย์ รุ่งเรือง
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2554
18. นิเวศวิทยาวัฒนธรรมซึ่งสัมพันธ์กับภูมิทัศน์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในชุมชนริมคลองรางจระเข้ อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(Cultural ecology concerning with landscape and vernacular architect of Klongrangjarakae, phra Nakhon Si Ayutthaya community)
เลขหมู่ สถ.2/07 2548-002
ระดับ ปริญญาโท
อมฤต หมวดทอง
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2548
19. นิเวศวิทยาวัฒนธรรมซึ่งสัมพันธ์กับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของไทเขิน : กรณีศึกษา บ้านต้นแหนน้อย อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
(Cultural ecology in relation to Tai-Khoen vernacular architecture : case study of Bantonhannoi Amphoe San Pa Tong Chiang Mai)
เลขหมู่ สถ.2/07 2549-001
ระดับ ปริญญาโท
ปิยกานต์ พานคำดาว
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2549
20. บ้านเรือนชาวเขากะเหรี่ยงปกาเกอะญอ : ความยั่งยืนและการปรับตัวภายใต้นิเวศวัฒนธรรมไร่หมุนเวียน
(Houses of Paka-Kyaw Karen : sustainabity and adaptability on cultural ecology in rotation farming)
เลขหมู่ NA7435.ห7 อ62
ระดับ ปริญญาโท
อัครพงศ์ อนุพันธ์พงศ์
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
2550

 


สงวนลิขสิทธิ์  วิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยศิลปากร  
จัดทำโดย  สำนักหอสมุดกลาง  มหาวิทยาลัยศิลปากร